ตรวจสุขภาพ ขอให้แข็งแรงHealthy
http://wisdom.unu.edu/en/healthy-ageing/
http://impossible.motd.org/?p=110
http://www.hsph.harvard.edu/nutritionsource/what-should-you-eat/pyramid/
http://www.aspirationlaw.biz/
Saturday, October 26, 2013
Thursday, July 18, 2013
Quick world forum
เมื่อวานนี้ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่า
http://www.mfa.go.th/main/
ข่าวเด่น : เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่จากภูมิภาคอาเซียนหารือผู้ว่าราชการจังหวัดทั่วประเทศเกี่ยวกับการสร้างประชาคมอาเซียนอย่างบูรณาการ
เมื่อวันที่ ๑๖ - ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๕๖ กระทรวงการต่างประเทศร่วมกับกระทรวงมหาดไทยจัดการประชุมร่วมระหว่างเอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ประจำภูมิภาคอาเซียนกับผู้ว่าราชการจังหวัดทั่วประเทศเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานเปิดการประชุมและมอบนโยบายแก่เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่จากภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดทั่วประเทศและมีผู้แทนจากส่วนราชการต่าง ๆ และภาคเอกชนเข้าร่วม
เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ประจำภูมิภาคอาเซียนรวมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดได้หารือเกี่ยวกับแนวทางการประสานงานระหว่างจังหวัดกับสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ รวมทั้งส่วนราชการอื่น ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน โดยใช้ประโยชน์จากจุดแข็งของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวมทั้งประสานยุทธศาสตร์จังหวัดกับยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์ต่อประเทศเพื่อนบ้าน และยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย โดยส่งเสริมให้จังหวัดเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานของภูมิภาค รวมทั้งสร้างกลไกการทำงานร่วมกันและการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โดยเฉพาะระหว่างทีมประเทศไทยทั้งในและนอกประเทศและระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัด โดยสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่จะมีบทบาทในการประสานและติดตามข้อมูลเชิงลึกที่เป็นประโยชน์เพื่อผู้ว่าราชการจังหวัดต่าง ๆ จะได้นำไปประกอบการกำหนดยุทธศาสตร์ นโยบายและแนวทางการดำเนินงานของจังหวัด เช่น การส่งเสริมการจำหน่ายสินค้า OTOP สินค้าเกษตร การหาทางแก้ไขปัญหามาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี เป็นต้น
เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ประจำประเทศอาเซียนรวมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดย้ำถึงการรักษาความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน การส่งเสริมความสงบเรียบร้อยในพื้นที่ชายแดน การแก้ปัญหาเส้นเขตแดน ปัญหาชายแดน และการพัฒนาพื้นที่ชายแดน โดยส่งเสริมบทบาทของจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน และเห็นพ้องว่าปัญหาเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการแก้ไข ได้แก่ แรงงาน ยาเสพติด การลักลอบตัดไม้ อาชญากรรมข้ามแดน ซึ่งหลายกรณีจำเป็นต้องป้องกันด้วยการเร่งพัฒนาพื้นที่ชายแดน
การส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่างกัน เช่น การสร้างถนน สะพาน ด่านชายแดน รวมถึงการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบจำเป็นจะต้องให้ เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ประจำประเทศอาเซียนและผู้ว่าราชการจังหวัดเน้นว่าต้องสอดคล้องกับประเทศเพื่อนบ้านและในอาเซียน เพื่อให้การผ่านแดนของคนและสินค้า เป็นไปได้สะดวกขึ้น รวมทั้งให้ความสำคัญกับพื้นที่ในจังหวัดที่อยู่ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจต่าง ๆ
เอกอัครราชทูต กงสุลใหญ่ประจำประเทศอาเซียน และผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นว่า ในการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน ไทยต้องใช้ศักยภาพและจุดแข็งของไทยให้เต็มที่ เช่น ใช้ประโยชน์จากที่ตั้งของไทยที่อยู่กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยงด้านกายภาพทั้งในและนอกภูมิภาค พร้อมกับเน้นการเชื่อมโยงกันในระดับประชาชน ส่งเสริมความเข้าใจและทัศนคติที่ดีต่อประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน ในประวัติศาสตร์และระบอบการปกครอง รวมถึงวัฒนธรรมซึ่งทั้งประชาชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ต้องมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน
เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ประจำภูมิภาคอาเซียนรวมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดได้หารือเกี่ยวกับแนวทางการประสานงานระหว่างจังหวัดกับสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่ รวมทั้งส่วนราชการอื่น ๆ เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน โดยใช้ประโยชน์จากจุดแข็งของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวมทั้งประสานยุทธศาสตร์จังหวัดกับยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์ต่อประเทศเพื่อนบ้าน และยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของประเทศไทย โดยส่งเสริมให้จังหวัดเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานของภูมิภาค รวมทั้งสร้างกลไกการทำงานร่วมกันและการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โดยเฉพาะระหว่างทีมประเทศไทยทั้งในและนอกประเทศและระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัด โดยสถานเอกอัครราชทูตและสถานกงสุลใหญ่จะมีบทบาทในการประสานและติดตามข้อมูลเชิงลึกที่เป็นประโยชน์เพื่อผู้ว่าราชการจังหวัดต่าง ๆ จะได้นำไปประกอบการกำหนดยุทธศาสตร์ นโยบายและแนวทางการดำเนินงานของจังหวัด เช่น การส่งเสริมการจำหน่ายสินค้า OTOP สินค้าเกษตร การหาทางแก้ไขปัญหามาตรการกีดกันการค้าที่ไม่ใช่ภาษี เป็นต้น
เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ประจำประเทศอาเซียนรวมทั้งผู้ว่าราชการจังหวัดย้ำถึงการรักษาความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน การส่งเสริมความสงบเรียบร้อยในพื้นที่ชายแดน การแก้ปัญหาเส้นเขตแดน ปัญหาชายแดน และการพัฒนาพื้นที่ชายแดน โดยส่งเสริมบทบาทของจังหวัดที่มีพื้นที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน และเห็นพ้องว่าปัญหาเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการแก้ไข ได้แก่ แรงงาน ยาเสพติด การลักลอบตัดไม้ อาชญากรรมข้ามแดน ซึ่งหลายกรณีจำเป็นต้องป้องกันด้วยการเร่งพัฒนาพื้นที่ชายแดน
การส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่างกัน เช่น การสร้างถนน สะพาน ด่านชายแดน รวมถึงการปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบจำเป็นจะต้องให้ เอกอัครราชทูตและกงสุลใหญ่ประจำประเทศอาเซียนและผู้ว่าราชการจังหวัดเน้นว่าต้องสอดคล้องกับประเทศเพื่อนบ้านและในอาเซียน เพื่อให้การผ่านแดนของคนและสินค้า เป็นไปได้สะดวกขึ้น รวมทั้งให้ความสำคัญกับพื้นที่ในจังหวัดที่อยู่ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจต่าง ๆ
เอกอัครราชทูต กงสุลใหญ่ประจำประเทศอาเซียน และผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นว่า ในการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน ไทยต้องใช้ศักยภาพและจุดแข็งของไทยให้เต็มที่ เช่น ใช้ประโยชน์จากที่ตั้งของไทยที่อยู่กลางภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมโยงด้านกายภาพทั้งในและนอกภูมิภาค พร้อมกับเน้นการเชื่อมโยงกันในระดับประชาชน ส่งเสริมความเข้าใจและทัศนคติที่ดีต่อประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน ในประวัติศาสตร์และระบอบการปกครอง รวมถึงวัฒนธรรมซึ่งทั้งประชาชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ต้องมีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน
ttp://www.aspirationlaw.com/
Saturday, June 22, 2013
Conflict must release by creative defense mechanism..next are innovation and patent ...prize for us!all..
http://www.flickr.com/photos/birdmydog/9106833412/
Conflict must release by creative defense mechanism..next are innovation and patent ...prize for us!all..
social cohesion make harmony and mercy...compromise for people benefit,protect corruption by pore the right money from private sector to government sector by tax and law,then fair share to all government sectors,no need to pay for make corruption any more ,if government sectors got enough and hard punishment to the money criminal,we need negotiate and international forum for make good deal and fair benefit to our countries,not only for some countries.
Microsoft (Again) Asks Supreme Court to Lower Clear and Convincing Standard
Microsoft Corp. v. I4I Limited Partnership (on petition for writ of certiorari 2010)
In 2009, an Eastern District of Texas jury awarded $200 million + interest to i4i after finding that Microsoft willfully infringed the Canadian company’s patent. Judge Davis subsequently added-on $40 million for willful infringement. The judge also issued an injunction ordering Microsoft to stop selling Word Products with the capability of using “custom XML.” That injunction was stayed by the Federal Circuit pending appeal. On appeal, the Federal Circuit affirmed the lower court’s findings of validity, willful infringement, enhanced damages, and permanent injunctive relief. In the meantime, the USPTO has concluded its reexamination of the i4i patent — confirming that the claims at issue are patentable. In addition, Microsoft apparently patched its software to prevent someone from using custom XML in Word.
Microsoft has now moved-on to the Supreme Court — asking the high court to reject the “clear and convincing” evidence standard for proving a patent invalid. As Microsoft writes in its petition for writ of certiorari, the question is “Whether the court of appeals erred in holding that Microsoft’s invalidity defense must be proved by clear and convincing evidence” even when the prior-art was not considered by the USPTO. This is essentially the same question that Microsoft raised in its 2008 petition in z4. That petition was withdrawn after the parties settled.
The patent statute (35 U.S.C. § 282) indicates that an issued patent is “presumed valid” and that the “burden of establishing invalidity” rests with the party asserting invalidity. The Federal Circuit has held that the presumption of validity is properly realized by a clear and convincing standard. The Supreme Court has not directly ruled on the issue. However, in KSR v. Teleflex, the Supreme Court did note that the “the rationale underlying the presumption — that the PTO, in its expertise, has approved the claim — seems much diminished” in cases where the patentee “fail[ed] to disclose” the key prior art to the PTO.
By Dennis Crouch
Double Patenting
March 07, 2013
In re Hubbell (Fed. Cir. 2013)
By Donald Zuhn --
In a 2-1 decision issued earlier today, the Federal Circuit affirmed a determination by the Board of Patent Appeals and Interferences upholding the rejection of the claims of U.S. Application No. 10/650,509 for obviousness-type double patenting over U.S. Patent No. 7,601,685. The '509 application, which is assigned to the California Institute of Technology (Caltech), is directed to matrices containing bidomain peptides or proteins. Claim 18 of the '509 application recites "[a] bidomain protein or peptide comprising a transglutaminase substrate domain and a polypeptide growth factor." The named inventors on the '509 application are Jeffrey Hubbell, Jason Schense, Andreas Zich, and Heike Hall, all of whom were affiliated with Caltech at the time the claimed invention of the '509 application was made.
In 1998, some five years before the '509 application was filed, Dr. Hubbell moved from Caltech to Eidgenössische Technische Hochschule Zürich (ETH Zürich). In 2002, the application that issued as the '685 patent was filed. The '685 patent, which is jointly assigned to ETH Zürich and Universitat Zurich, lists Dr. Hubbell, Dr. Schense, and Shelly Sakiyama-Elbert as inventors (Anna Jen is also listed as an inventor on a Certificate of Correction). Thus, the '509 application and '685 patent do not have common inventive entities or common owners. Claim 1 of the '685 patent recites:
1. A fusion protein, comprising:
(i) a first protein domain;
(ii) a second protein domain; and
(iii) an enzymatic or hydrolytic cleavage site between the first and the second domains;
wherein the first domain is a growth factor selected from the group consisting of the platelet derived growth factor superfamily and the transforming growth factor beta (TGFβ) superfamily;
wherein the second domain is a crosslinking Factor XIIIa substrate domain;
wherein the enzymatic cleavage site is selected from the group consisting of proteolytic substrates and polysaccharide substrates, and
wherein the hydrolytic cleavage site comprises a substrate with a linkage which undergoes hydrolysis by an acid or a base catalyzed reaction.
(i) a first protein domain;
(ii) a second protein domain; and
(iii) an enzymatic or hydrolytic cleavage site between the first and the second domains;
wherein the first domain is a growth factor selected from the group consisting of the platelet derived growth factor superfamily and the transforming growth factor beta (TGFβ) superfamily;
wherein the second domain is a crosslinking Factor XIIIa substrate domain;
wherein the enzymatic cleavage site is selected from the group consisting of proteolytic substrates and polysaccharide substrates, and
wherein the hydrolytic cleavage site comprises a substrate with a linkage which undergoes hydrolysis by an acid or a base catalyzed reaction.
During prosecution, the Examiner rejected the claims of the '509 application for obviousness-type double patenting over, inter alia, the application that issued as the '685 patent. In particular, the Examiner determined that the conflicting claims in the '685 patent were directed to species of the claimed invention of the '509 application and therefore anticipated the claimed invention of the '509 application. On appeal, the Board affirmed the Examiner's obviousness-type double patenting rejection over the '685 patent, determining that claim 1 of the '685 patent recites a protein that contains both of the features required in rejected claim 18, and that claim 18's use of the term "comprising" allowed for inclusion of the additional elements recited in claim 1 of the '685 patent. The Board also rejected Appellants' argument that common ownership was a requirement for obviousness-type double patenting, citing MPEP § 804(I)(A), which states that "[d]ouble patenting may exist between an issued patent and an application filed by the same inventive entity, or by a different inventive entity having a common inventor, and/or by a common assignee/owner." Appellants appealed the Board's affirmance of the Examiner's rejection to the Federal Circuit.
On appeal before the Federal Circuit, Appellants argued that obviousness-type double patenting should not apply where an application and a conflicting patent share common inventors but do not have identical inventive entities, were never commonly owned, and are not subject to a joint research agreement. Alternatively, Appellants argued that they should be allowed to file a terminal disclaimer as an equitable measure, or that the Court should employ a two-way obviousness analysis for the rejected claims. The U.S. Patent and Trademark Office countered that (1) whether the '509 application and '685 patent were ever commonly owned was immaterial to the policy of preventing harassment by multiple assignees; (2) identity of inventors is not required where there is an overlap in the inventors; (3) Appellants had not established any grounds upon which they should be allowed to file a terminal disclaimer; and (4) Appellants were not entitled to a two-way obviousness analysis because they admitted to being partially responsible for the delay that caused the '685 patent claims to issue first.
Noting that the Board's affirmance was based in part on § 804(I)(A) of the MPEP, Judge O'Malley, writing for the majority, indicated that "the MPEP standard is consistent with the rationale we have used to support application of obviousness-type double patenting rejections." The rationale being the concern over potential harassment of an infringer by multiple assignees asserting essentially the same patented invention (as well as preventing unjustified extension of the right to exclude). Judge O'Malley also noted that it had previously rejected Appellants' argument that obviousness-type double patenting should never be applied in the absence of common ownership in two other cases: In re Van Ornum, 686 F.2d 937 (CCPA 1982), where an obviousness-type double patenting rejection over a patent with a common inventor but no common ownership was affirmed, and In re Fallaux, 564 F.3d 1313 (Fed. Cir. 2009), where the reference patents and application at issue were related only by way of a single common inventor. Although Appellants argued that Van Ornum andFallaux were distinguishable because in those cases the applications at issue were once commonly owned, the majority noted that "the potential for harassment by multiple assignees would [still] exist," and therefore "[Appellants'] distinction does not alleviate the underlying harassment concerns here." The majority also refused Appellants' invitation to create a specific exception barring application of obviousness-type double patenting in instances where the conflicting claims share only common inventors, rather than common ownership, declaring that "[w]e too can find no reasoned basis to differentiate between cases involving identical 'inventive entities' and those where the inventive entities are almost identical when assessing obviousness-type double patenting rejections."
http://www.aspirationlaw.com/
Saturday, May 18, 2013
World Heritage here and there...how to make best community living around Ancient points.????
World Heritage here and there...how to make best community living around Ancient points.????
Sugar and no poverty day...
http://th.wikipedia.org/wiki/
http://cpd.bangkok.go.th:90/web2/strategy/Ebooks/ebook/place/place2546.pdf
http://www.aspirationlaw.com/
Sugar and no poverty day...
http://th.wikipedia.org/wiki/
http://cpd.bangkok.go.th:90/web2/strategy/Ebooks/ebook/place/place2546.pdf
- หมายเหตุ ใช้ชื่อโบราณสถานตามทะเบียนโบราณสถาน
อันดับ | สถานที่ | ที่ตั้ง | ปีขึ้นทะเบียน (พ.ศ.) |
---|---|---|---|
1 | วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม | เขตพระนคร | 2492, 2544 |
2 | วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ | เขตพระนคร | 2492, 2544 |
3 | พระราชวังบวรสถานมงคล | เขตพระนคร | 2492, 2519 |
4 | วัดชนะสงคราม | เขตพระนคร | 2492 |
5 | ป้อมพระสุเมรุ | เขตพระนคร | 2492, 2544 |
6 | วัดบวรนิเวศวิหาร | เขตพระนคร | 2492, 2532 |
7 | ป้อมมหากาฬ | เขตพระนคร | 2492 |
8 | วัดราชนัดดา | เขตพระนคร | 2492, 2532 |
9 | วัดสุทัศน์เทพวราราม | เขตพระนครา | 2492 |
10 | เสาชิงช้า | เขตพระนคร | 2492, 2531 |
11 | เทวสถาน(โบสถ์พราหมณ์) | เขตพระนคร | 2492, 2548 |
12 | วัดราชบูรณะ | เขตพระนคร | 2492, 2532 |
13 | วัดปรินายก | เขตพระนคร | 2492 |
14 | วัดสระเกศ | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2492 |
15 | วัดมหรรณพาราม | เขตพระนคร | 2492, 2532 |
16 | วัดราชประดิษฐสถิตย์มหาสีมาราม | เขตพระนคร | 2492 |
17 | วัดราชบพิธ | เขตพระนคร | 2492 |
18 | วัดบรมนิวาศ | เขตปทุมวัน | 2492 |
19 | วัดประทุมวนาราม | เขตปทุมวัน | 2492 |
20 | วัดราชาธิวาส | เขตดุสิต | 2492 |
21 | วัดเทวราชกุญชร | เขตดุสิต | 2492 |
22 | วัดกัลยาณมิตร | เขตธนบุรี | 2492 |
23 | วัดประยูรวงศาวาส | เขตธนบุรี | 2492 |
24 | วัดอินทาราม | เขตธนบุรี | 2492 |
25 | วัดพิชัยญาติการาม | เขตคลองสาน | 2492, 2520 |
26 | ป้อมป้องปัจจามิตร | เขตคลองสาน | 2492, 2528 |
27 | วัดราชโอรส | เขตจอมทอง | 2492 |
28 | วัดอรุณราชวราราม | เขตบางกอกใหญ่ | 2492 |
29 | พระราชวังเดิม | เขตบางกอกใหญ่ | 2492 |
30 | ป้อมวิชัยประสิทธิ์ | เขตบางกอกใหญ่ | 2492 |
31 | วัดโมลีโลกยาราม | เขตบางกอกใหญ่ | 2492, 2544 |
32 | วัดหงส์รัตนาราม | เขตบางกอกใหญ่ | 2492 |
33 | วัดราชสิทธาราม | เขตบางกอกใหญ่ | 2492, 2505 |
34 | วัดระฆังโฆสิตาราม | เขตบางกอกใหญ่ | 2492 |
35 | วัดสุวรรณาราม | เขตบางกอกน้อย | 2492 |
36 | วัดคฤหบดี (เพิกถอน) | เขตบางพลัด | 2492, 2499, 2500 |
37 | วัดรัชฎาธิษฐาน | เขตตลิ่งชัน | 2495 |
38 | วัดกาญจนสิงหาสน์ | เขตตลิ่งชัน | 2495, 2528 |
39 | วัดแก้วไพฑูรย์ | เขตจอมทอง | 2497 |
40 | วัดไตรมิตรวิทยาราม | เขตสัมพันธวงศ์ | 2499 |
41 | วัดดุสิตาราม | เขตบางกอกน้อย | 2502, 2517, 2543 |
42 | วัดไทร | เขตจอมทอง | 2505, 2548 |
43 | โรงช้าง | เขตดุสิต | 2517 |
44 | สะพานพิทยเสถียร | เขตสัมพันธวงศ์ | 2518, 2548 |
45 | สะพานดำรงสถิต | เขตพระนคร | 2518, 2531 |
46 | สะพานชมัยมรุเชฐ | เขตดุสิต | 2518, 2543 |
47 | สะพานวรเสรษฐ | เขตดุสิต | 2518, 2543 |
48 | สะพานมัฆวานรังสรรค์ | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2518 |
49 | สะพานผ่านฟ้าลีลาศ | เขตพระนคร | 2518, 2531 |
50 | สะพานเฉลิมพันธุ์ 53 | เขตสาทร | 2518, 2548 |
51 | สะพานเฉลิมหล้า 56 | เขตปทุมวัน | 2518 |
52 | สะพานเสาวนี | เขตดุสิต | 2518, 2548 |
53 | สะพานเจริญรัช 31 | เขตพระนคร | 2518, 2531 |
54 | สะพานเจริญราษฎร์ 32 | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2518 |
55 | สะพานปีกุน | เขตพระนคร | 2518 |
56 | สะพานมหาดไทยอุทิศ | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2518, 2548 |
57 | สะพานเจริญศรี 34 | เขตพระนคร | 2518, 2531 |
58 | ศาลหลักเมือง | เขตพระนคร | 2518 |
59 | คลองคูเมืองเดิม | เขตพระนคร | 2519, 2531 |
60 | อาคารที่ทำการกรมศิลปากร | เขตพระนคร | 2520, 2531 |
61 | อาคารหอสมุดวชิราวุธ | เขตพระนคร | 2520 |
62 | วัดบุปผาราม | เขตธนบุรี | 2520 |
63 | วัดราชคฤห์ | เขตธนบุรี | 2520 |
64 | วัดกก | เขตบางขุนเทียน | 2520 |
65 | วัดหนัง | เขตจอมทอง | 2520 |
66 | วัดนางนอง | เขตจอมทอง | 2520 |
67 | วัดเศวตฉัตร | เขตคลองสาน | 2520 |
68 | วัดทองธรรมชาติ | เขตคลองสาน | 2520 |
69 | วัดทองนพคุณ | เขตคลองสาน | 2520 |
70 | วัดอนงคาราม | เขตคลองสาน | 2520 |
71 | วัดอัปสรสวรรค์ | เขตภาษีเจริญ | 2520 |
72 | วัดอ่างแก้ว | เขตภาษีเจริญ | 2520 |
73 | วัดเปาโรหิต | เขตบางกอกน้อย | 2520 |
74 | วัดทอง | เขตบางกอกน้อย | 2520 |
75 | วัดศรีสุดาราม | เขตบางกอกน้อย | 2520 |
76 | วัดใหม่เทพนิมิตร | เขตบางกอกน้อย | 2520 |
77 | วัดสังข์กระจาย | เขตบางกอกใหญ่ | 2520 |
78 | วัดท่าพระ | เขตบางกอกใหญ่ | 2520 |
79 | สถานีตำรวจพระราชวัง | เขตพระนคร | 2520 |
80 | วัดช่องนนทรีย์ | เขตยานนาวา | 2520 |
81 | วัดนายโรง | เขตบางกอกน้อย | 2520 |
82 | วัดไชยทิศ | เขตบางกอกน้อย | 2520 |
83 | วัดบางขุนนนท์ | เขตบางกอกน้อย | 2520 |
84 | วัดเวฬุราชิณ | เขตธนบุรี | 2520 |
85 | วัดนาคปรก | เขตธนบุรี | 2520 |
86 | วัดบูรณศิริมาตยาราม | เขตพระนคร | 2520 |
87 | วัดเทพธิดาราม | เขตพระนคร | 2520 |
88 | ทุ่งพระเมรุ (สนามหลวง) | เขตพระนคร | 2520 |
89 | วัดโพธินิมิตร | เขตธนบุรี | 2520 |
90 | โรงกษาปณ์ (หอศิลป์เจ้าฟ้า) | เขตพระนคร | 2521 |
91 | ตำหนักพรรณราย วังท่าพระ | เขตพระนคร | 2521, 2544 |
92 | สำนักงานตรวจบัญชีกองทัพบก | เขตดุสิต | 2521, 2547 |
93 | โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า (วังพญาไท) | เขตพญาไท | 2522, 2527 |
94 | กำแพงเมืองหน้าโรงเรียนวัดบวรนิเวศ | เขตพระนคร | 2523 |
95 | วัดมหาพฤฒาราม | เขตบางรัก | 2525 |
96 | ซุ้มประตูแพร่งสรรพศาสตร์ | เขตพระนคร | 2526 |
97 | วัดยานนาวา | เขตยานนาวา | 2526 |
98 | พระอุโบสถ วัดโบสถ์สามเสน | เขตดุสิต | 2526 |
99 | สถานีวิทยุศาลาแดง | เขตปทุมวัน | 2526 |
100 | พระอุโบสถวัดบางยี่ขัน | เขตบางกอกน้อย | 2526 |
101 | วังวรดิศ | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2527, 2530, |
102 | บ้านมนังคศิลา | เขตดุสิต | 2528 |
103 | โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา | เขตคลองสาน | 2528 |
104 | วังเทวะเวสม์ | เขตพระนคร | 2530 |
105 | เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร | เขตพระนคร | 2530, 2536 |
106 | โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย | เขตพระนคร | 2530 |
107 | วัดจักรวรรดิราชาวาส (สามปลื้ม) | เขตสัมพันธวงศ์ | 2530 |
108 | ตึก S.A.B. | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2530 |
109 | ตึก S.E.C | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2530 |
110 | คลองโอ่งอ่าง ตลอดแนวคลอง | เขตพระนคร | 2531, 2526 |
111 | คลองผดุงกรุงเกษม ตลอดแนวคลอง | เขตพระนคร | 2531 |
112 | อนุสาวรีย์หมู | เขตพระนคร | 2531 |
113 | สนามไชย | เขตพระนคร | 2531 |
114 | ศาลเจ้าแม่ทับทิม | เขตพระนคร | 2531 |
115 | อนุสาวรีย์รัชกาลที่ 1 | เขตพระนคร | 2531 |
116 | ศาลเจ้าพ่อเสือ | เขตพระนคร | 2531 |
117 | สะพานช้างโรงสี | เขตพระนคร | 2531 |
118 | สะพานอุบลรัตน์ | เขตพระนคร | 2531 |
119 | สำนักงานเกษตรกรุงเทพมหานคร | เขตพระนคร | 2531 |
120 | วังบ้านหม้อ | เขตพระนคร | 2532 |
121 | วังปารุสกวัน | เขตดุสิต | 2532, 2543 |
122 | บ้านพระอาทิตย์ | เขตพระนคร | 2532, 2536 |
123 | วัดกันมาตุยาราม | เขตสัมพันธวงศ์ | 2533 |
124 | โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน | เขตบางกอกใหญ่ | 2533 |
125 | บ้านอับดุลราฮิม | เขตบางรัก | 2537 |
126 | วัดสิตาราม | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2538 |
127 | วัดประเสริฐสุทธาวาส | เขตราษฎร์บูรณะ | 2538 |
128 | กรมโยธาธิการ (อาคารหลังเก่า) | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2538 |
129 | คลังเก็บฝิ่น | เขตดุสิต | 2538 |
130 | วัดบุคคโล | เขตธนบุรี | 2539 |
131 | วัดใหม่ทองเสน | เขตดุสิต | 2539 |
132 | วัดจอมสุดาราม (วัดไพรงาม) | เขตดุสิต | 2539 |
133 | วังกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ (วังใหม่) | เขตพระนคร | 2539 |
134 | วัดมัชฌันติการาม | เขตบางซื่อ | 2539 |
135 | วัดทองสุทธาราม | เขตบางซื่อ | 2539 |
136 | วัดธรรมาภิตาราม | เขตดุสิต | 2539 |
137 | กรมสรรพาวุธทหารบก | เขตดุสิต | 2539 |
138 | วัดตรีทศเทพวรวิหาร | เขตพระนคร | 2539 |
139 | อาคารตะละภัฎศึกษา | เขตพระนคร | 2540 |
140 | อาคารกระทรวงกลาโหม | เขตพระนคร | 2541 |
141 | อาคารเลขที่ 208 (บ้านทัดทรง) | เขตพระนคร | 2541 |
142 | ซุ้มประตูวังถนนพระสุเมรุ | เขตพระนคร | 2541 |
143 | ตึกแถวสองฟากถนนแพร่งภูธร | เขตพระนคร | 2541 |
144 | สะพานสมมตอมรมารค | เขตพระนคร | 2541 |
145 | สะพานหก | เขตพระนคร | 2541 |
146 | พระตำหนักเพชรรัตน์ | เขตดุสิต | 2541 |
147 | โรงเรียนวัดปทุมคงคา | เขตสัมพันธวงศ์ | 2542 |
148 | อาคารบำรุงนุกูลกิจ | เขตพระนคร | 2542 |
149 | สะพานภาณุพันธุ์ | เขตพระนคร | 2542 |
150 | สะพานมอญ | เขตพระนคร | 2542 |
151 | สะพานผ่านพิภพลีลา | เขตพระนคร | 2542 |
152 | อาคารพระที่นั่งนงคราญสโมสร วังสวนสุนันทา | เขตดุสิต | 2542, 2522 |
153 | ตึกแถวริมถนนตะนาว (ช่วงที่ 1) | เขตพระนคร | 2543 |
154 | บ้านพลตรี ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช | เขตสาทร | 2543 |
155 | ตึกแถวริมถนนหน้าพระลาน | เขตพระนคร | 2544 |
156 | อาคารสถานทูตรัสเซีย (เดิม) | เขตบางรัก | 2544 |
157 | วัดภัคินีนาท | เขตบางพลัด | 2544 |
158 | ตึกแถวบางส่วนริมถนนอัษฎางค์ ถนนพระพิทักษ์ และ ถนนบ้านหม้อ | เขตพระนคร | 2544 |
159 | กระทรวงศึกษาธิการ (วังจันทรเกษม) | เขตดุสิต | 2544 |
160 | อาคารโรงพิมพ์คุรุสภา (ร.ร. ช่างพิมพ์วัดสังเวช) | เขตพระนคร | 2544 |
161 | ศาลากลางจังหวัดมีนบุรี | เขตมีนบุรี | 2544 |
162 | ตึกแถวบริเวณท่าเตียน | เขตพระนคร | 2544 |
163 | โรงสุราบางยี่ขัน | เขตบางพลัด | 2544 |
164 | สถานีรถไฟธนบุรี (รวมวัดอมรินทราราม) | เขตบางกอกน้อย | 2544 |
165 | วัดมกุฏกษัตริยาราม | เขตพระนคร | 2544 |
166 | วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม | เขตดุสิต | 2544, 2518 |
167 | วัดบพิตรพิมุข | เขตสัมพันธวงศ์ | 2544 |
168 | วังบางขุนพรหม | เขตพระนคร | 2544 |
169 | ตึกแถวริมถนนมหาราช ท่าช้างวังหลวง | เขตพระนคร | 2544 |
170 | โรงเรียนวัดเปาโรหิตย์ | เขตบางพลัด | 2544 |
171 | สถานีตำรวจนครบาลมีนบุรี | เขตมีนบุรี | 2544 |
172 | หอการค้าไทย-จีน (เดิม) | เขตสาทร | 2544 |
173 | ห้องสมุดเนียลสัน เฮล์ | เขตบางรัก | 2544 |
174 | ศาลเจ้ากวางตุ้ง | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2544 |
175 | ธนาคารกรุงเทพ สาขาสำเพ็ง | เขตสัมพันธวงศ์ | 2545 |
176 | ห้างทองตั้งโต๊ะกัง | เขตสัมพันธวงศ์ | 2545 |
177 | กรมอู่ทหารเรือ (ปล่องควันหม้อน้ำ) | เขตบางกอกน้อย | 2545 |
178 | อาคารศุลกสถาน (สถานีตำรวจดับเพลงบางรัก) | เขตบางรัก | 2545 |
179 | ที่หลบภัยสาธารณะในสวนสัตว์ดุสิต | เขตดุสิต | 2545 |
180 | สำนักงานประปาสาขาแม้นศรี | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2545 |
181 | พระราชวังสราญรมย์ | เขตพระนคร | 2545 |
182 | กรมแผนที่ทหาร | เขตพระนคร | 2548 |
183 | โรงเรียนราชินี | เขตพระนคร | 2548 |
184 | หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง | เขตพระนคร | 2548 |
185 | กระทรวงพาณิชย์ | เขตพระนคร | 2548 |
186 | คลังราชการ | เขตพระนคร | 2548 |
187 | ตึกแถวบริเวณลานเสาชิงช้าโค้งถนนบำรุงเมือง | เขตพระนคร | 2548 |
188 | วังบ้านดอกไม้ (วังกรมพระกำแพงเพ็ชรอัครโยธิน) | เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย | 2548 |
189 | กระทรวงมหาดไทย | เขตพระนคร | 2548 |
http://www.aspirationlaw.com/
Labels:
bangkok,
bangladesh,
heritage,
no poverty,
well being
Subscribe to:
Posts (Atom)